วันภาษาไทยแห่งชาติ

29 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:04 / ผู้เข้าชม : 28 ความรู้เพิ่มเติมน่าสนใจ , ประวัติศาสตร์
วันภาษาไทยแห่งชาติ

วันภาษาไทยแห่งชาติ

วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕o๕ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

บรมนาณบพิตร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานและทรงอภิปรายเรื่อง

"ปัญหาการใช้คำไทย" ร่วมกับผู้กรงคุณวุฒิในการประชุมทางวิชาการของ

ชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงแสดง

ความห่วงใยในภาษาไทย รัฐบาลได้ประกาศให้

วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกปีเป็น "วันภาษาไทยแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ "

 


พระองค์ท่านทรงแสดงความห่วงใยในภาษาไทย โดยทรงมีพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า

"เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียงคือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้ หมายความว่า วิธีใช้คำมาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาที่สำคัญ ปัญหาที่สาม คือ ความร่ำรวยในคำของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ำรวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้ สำหรับคำใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจำเป็นในทางวิชาการไม่น้อย แต่บางคำที่ง่ายๆ ก็ควรจะมี ควรจะใช้คำเก่าๆ ที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก"




 

คำว่า”ไทย”

หมายความว่า อิสรภาพ เสรีภาพ หรืออีกความหมายหนึ่ง คือ ใหญ่ ยิ่งใหญ่

พราะการจะเป็นอิสระได้ จะต้องมีกำลังที่มากกว่า แข็งแกร่งกว่า เพื่อป้องกัน

การรุกรานจากข้าศึก แม้คำนี้จะมีรูปเหมือนคำยืมจากภาษาบาลีส้นสกฤต

แต่แท้ที่จริงแล้ว คำนี้เป็นคำไทยแท้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างคำที่เรียกว่า

'การลากคำเข้าวัด' ซึ่งเป็นการลากความวิธีหนึ่ง ตามหลักคติชนวิทยา

คนไทยเป็นชนชาติที่นับถือกันว่าภาษาบาสี่ซึ่งเป็นภาษาที่ บันทึกพระธรรม

คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นภาษาอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคล

เมื่อคนไทยต้องการตั้งชื่อประเทศว่า "ไท" ซึ่งเป็นคำไทยแท้จึงเติมตัว "ย"

เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษาบาลีลันสกฤตพื่อความเป็นมงคล

ตามความเชื่อของตน ภาษาไทยจึงหมายถึงภาษาของชนชาติไทยผู้เป็นไกนั่นเอง



 

วิวัฒนาการของภาษาไทย


ภาษาไทยมีวิวัฒนาการเป็น ๒ สมัย คือ ภาษาไทยแท้ หรือภาษาไทยดั้งเดิม

และภาษาไทยปัจจุบันหรือภาษาไทยประสมภาษาไทยแท้ หรือ ภาษาไทยตั้งเดิม


 

ภาษาไทยดั้งเดิม

เป็นภาษาไทยก่อน อพยพเข้ามาอยู่ในสุวรรณภูมิ หรือ แหลมทองภาษาไทย

ปัจจุบัน หรือ ภาษาไทยประสม คือ ภาษาไทยนับตั้งแต่ เข้ามาตั้งถิ่นฐานในสุวรรณภูมิแล้ว



 

ลักษณะภาษาไทยแท้

ภาษาไทยแท้เป็นภาษาดั้งดิมประจำชติไทย นับถอยหลังตั้งแต่มีภูมิลำเนาอยู่

ในประเทศจีน ปัจจุบันขึ้นไปเป็นภาษาในระยะที่ยังไม่ได้ เที่ยวข้องกับชาติอื่นมากนัก

ภาษาไทยมีลักษณะดังนี้

๑. คำส่วนมากเป็นคำโดด คือ คำพยางค์เดียว

ช่น พ่อ แม่ มือ แขน ช้าง ม้า ฯลฯ ไม่ค่อยมีคำควบกล้ำ


 

๒. คำขยาย อยู่ข้างหลังคำที่ถูกขยาย เช่น บ้านใหญ่ พูดมาก ดียิ่ง


 

๓.คำที่เขียนตัวหนาเป็นคำขยาย ถ้าต้องการ สร้างคำใหม่ ใช้วิธีรวมคำมูล

เข้าด้วยกันพื่อให้เกิดคำประลมขึ้น ช่น โรงเรี่ยน แม่น้ำ พ่อตา


 

๔. ในการเขียนใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราแม่ กก ใช้ ก ละกด แม่ กน ใช้ น

สะกด แม่ กบ ใช้ บ สะกด เช่น นก กิน กบ


 

๕. ในการเขียน ไม่ใช้ตัวการันต่ำ คำกุกคำอ่านออกเสียงได้หมดทุกพยางค์

๖. ไม่มีหลักไวยกรณ์ คือ ระเบียบของภาษาแน่นอนเหมือนภาษาของบางชาติ เช่น บาลี สั้นสกฤตและอังกฤษ เป็นต้น 

กล่าวคือ ไม่มีระเบียบพิเศษเกี่ยวกับพจน์ เพศ วิภัตติ ปัจจัย อุปสรรค กาล มาลา วาจก

๗. เป็นภาษามีเสียงดนตรี นิยมใช้ไม้วรรณยุกต์กำกับเสียง



 

ลักษณะภาษาไทยปัจจุบัน

เป็นภาษาไทยเริ่มตั้งแต่คนไทยย้ายถิ่นฐานลงมาอยู่ในแหลมทอง

ซึ่งเป็นที่ตั้งประเทศไทยทุกวันนี้ เมื่อไทยเข้ามาอยู่ในดินแดนแดบนี้ได้เกี่ยวข้อง

กับชนหลายชาติหลายกาษ ซึ่งมีระเบียนกาษาตกต่างไปจากไทย ภาเาของต่ง

ชาติที่ข้ามามีอิทธิพลเหนื่อภาษไทยปัจจุบัน คือ นาสั่ สันสกฤต เขมร ชวา มอณู จีน

พม่า มลายู เปอร์ซี่ย และการาของซาติยุรปบางภาเา เช่น โปรตุกส และอังกฤษ

เป็นต้น เมื่อกาษาไทยต้องที่ยวข้องกับภาษาของต่างชาติตั้งกล่าว ประกอบกับ

สถานะทางภูมิกาสตร์และเหตุกรณ์ทางสังคมเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา ภาษาไทยปัจจุบัน

จึงมีลักษณะผิดพี้ยนไปจากเดิมมากอ มีลักษณะเศษมขึ้นจากภาษาไทยแท้ตังนี้

๑. มีคำหลายพยางค์เพิ่มขึ้น

๒. มีคำควบกล้ำมากขึ้น

๓.มีการสร้างคำใหม่ตามวิธีการสมาส และสนธิของภาษาบาลี

และสันสกฤต และตามวิธีแผลงค่ำตามอย่างภาษาเขมร

 

๔. ใช้ตัวสะกดไม่ค่อยตรงตามมาตรา ตามอย่างภาษาอื่น เช่น แม่ กก

ใช้ขคฆสะกดแม่ กน

๕.ใช้ ญณรลพสเกด แม่กด ใช้ จขฎ ฎ ฐณต กกรสะกดเพิ่มขึ้น

มีตัวการัตน์เพิ่มขึ้น



 

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

ได้กรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อw.ศ. ๑๘๒๖ โดยทรงดั่ดแปลงมาจาก

อักษรขอมหวัดและอักษรไทยเดิม ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมอญและ

คิดอักษรไทยขึ้นไหม่ให้มีสระ และวรรณยุกต์ให้พอใช้กับภาษาไทย

และกรงเรียกอักษรด้งกล่าว ลายสื่อไทย ดังมีกล่าวในศิลาจารึก

พ่อขุนรามคำแหงตอบหนึ่งว่า

"เมื่อก่อนลายสื่อไกยนี้บ่มี ๑๒๐๕ คกขี่มะแม พ่อขุนรามคำแหงหาใคร่ใจในใจ

แลใส่ลายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึงมีพ่อขุนรามคำแหงผู้นั้นใส่ไว้..."

(ปี ๑๒๐๕ เป็นมหาศักราชตรงกับพุทธศักราช ๑๔๒๖)



 

อักษรไทยของพ่อขุนรามคำแหง

ใช้แพร่หลายในเขตล้านนา ล้านช้าง และกรุงศรี่อยุรยา ต่อมาชาวล้านนา

และชาวล้านช้างเลิกใช้อักษรไทยสมัยกรุงสุโขทัยและใช้อักษรของพวกลื้อ

ซึ่งเป็นอักษรไทยพวกหนึ่งแทน ส่วนกรุงศรีอยุรยายังคงใช้อักษรไทยและ

ดัดแปลงแก้ไขมาเป็นระยะ ๆ จนเป็นเช่นอักษรไทยปัจจุบัน



 

ภาษาไทยมีวิวัฒนาการ

มาตามลำดับอย่างต่อเนื่อง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา

ตอนปลาย รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ทรงโปรดเกล้าให้

พระโหราธิบดี แต่งแบบเรียนภาษาไทยขึ้นเป็นแบบเรียนภาษาไทยเล่มแรกมีชื่อว่า

"จินดามณี" ซึ่งแปลว่า แก้วสารพัดนึก ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แต่งแบบเรียนภาษาไทย คือ มูลบทบรรพกิจ

วาหนิตี๋นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พิจารณ์และพิศาลการันต์

 

 

พระโหราธิบดี

ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยกรุงศรีอยุทธยา


 

พระศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจารยางทูร)

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๕ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์





 

และต่อมาในสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

กระทรวงวัฒนธรรมได้จัดพิมพ์ " ตำราสยามไวยากรณ์เป็นแบบเรียน "

และเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ได้เรียบเรียงขึ้นใหม่อีกเล่มหนึ่ง

โดยย่อจากตำราสยามไวยากรณ์ และใน พ.ศ.๒๕๖๑


 

 

พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) ได้ใช้เค้าโครงของ

ตำราสยามไวยากรณ์นำมาแต่งเป็นตำราหลักภาษาไทยขึ้นใหม่ ซึ่งถือว่าเป็น

ตำราหลักภาษาไทยที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วย อักขรวิธี วจีวิภาค

วากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณ์ ถือว่าตำราเล่มนี้เป็นแบบฉบับ

หลักภาษาไทยที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดและใช้กันจนถึงปัจจุบัน




 

ในวันภาษาไทยนี้ เพื่อนพี่ๆช่วยกันใช้ภาษา อย่างถูกต้องกันนะครับ



 

Copyrighted 2021. designlandclub. All Rights Reserved.
@ ART AD. DESIGN. 2021